ในยุคโลกาภิวัตน์ประเทศต่าง ๆ
ต้องประสานประโยชน์และพึ่งพากันอย่างเป็นระบบ จึงต้องรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
และปัจจุบันเป็นโลกไร้พรมแดนมีการซื้อขายทางอินเทอร์เน็ต
มีเครือข่ายโยงถึงกันได้สะดวกรวดเร็ว
ทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยและโลก
แต่ทุกประเทศมีปัญหาเศรษฐกิจแตกต่างกัน ประเทศไทยก็มีปัญหาเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ทุกฝ่ายต้องร่วมกันแก้ไขปัญหา อ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก อ่านเพิ่มเติม
องค์การระหว่างประเทศไทยที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน
แต่องค์การที่สำคัญที่สุดและมีบทบาทต่อประเทศไทยในประเด็นสิทธิมนุษยชนมากที่สุดคือ
สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High
Commissioner for Refugees : UNHCR) ซึ่งเป็นองค์การที่ทไหน้าที่ช่วยเหลือการกลับถิ่นฐานเดิมของผู้ลี้ภัยปกป้องและสนับสนุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยทั่วโลก
ตามข้อเรียกร้องของรัฐบาลในแต่ละประเทศหรือข้อเรียกร้องของสหประชาชาติ
รวมทั้งส่งผู้ลี้ภัยกลับประเทศต้นทางหรือประเทศที่สามเพื่อตั้งถื่นฐานใหม่ อ่านเพิ่มเติม
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ
สิทธิเหล่านี้
"เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเองเพียงเพราะเธอหรือเขาเป็นมนุษย์"
ฉะนั้น จึงเข้าใจว่าสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งสากล (มีผลทุกที่) และสมภาค
(เท่าเทียมสำหรับทุกคน) ลัทธิสิทธิมนุษยชนมีอิทธิพลอย่างสูงในกฎหมายระหว่างประเทศ
สถาบันระดับโลกและภูมิภาค อ่านเพิ่มเติม
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง
1. กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล
- ชื่อบุคคล (Name) เป็นถ้อยคำที่ใช้เรียกบุคคลเพื่อบ่งบอกถึงตัวบุคคลใด ประกอบด้วยชื่อ ชื่อรอง และชื่อสกุล เพราะเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการจำแนกบุคคล ส่วนชื่อรองกฎหมายไม่ได้บังคับ
- ชื่อตัว (First
Name) เป็นชื่อประจำตัวของบุคคลแต่ละบุคคล ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากบิดาหรือมารดา
- ชื่อสกุล (Family
Name) เป็นชื่อประจำวงศ์สกุลหรือประจำครอบครัวสืบเนื่องต่อมา ชื่อสุกลโดยปกติจึงเป็นชื่อที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ
- ชื่อรอง เป็นชื่อประกอบถัดไปจากชื่อตัว มุ่งหมายบอกลักษณะหรือตัวบุคคลให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพราะเมื่อบุคคลเกิดขึ้นมากๆ
อาจมีชื่อตัวซ้ำกัน อ่านเพิ่มเติม
กฎหมาย
กฎหมาย คือ กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม อ่านเพิ่มเติม
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
กระบวนการทั้งหลายเหล่านี้เป็นกระบวนการสำคัญที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(พ.ศ.2540) ได้กำหนดไว้ในหลายๆส่วนรวมทั้งโดยเฉพาะในหมวด 10 อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ "การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ" ความจำเป็นของการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐนั้นเป็นสิ่งที่เราทุกคนทราบกันดีอยู่แล้ว
ประสบการณ์ในระบอบประชาธิปไตยของเราแสดงให้เห็นถึง "การกระทำ" หลายๆอย่างที่ผ่านมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเข้ามา "ใช้อำนาจรัฐ" ไม่ว่าจะโดยฝ่ายการเมืองหรือฝ่ายประจำก็ตาม
บางครั้งบางกรณีก็เกิดการใช้อำนาจดังกล่าวเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง
ทำให้มีผู้พยายาม "เข้าสู่ตำแหน่ง" กันมากขึ้นเพราะความหอมหวนของอำนาจเป็นที่มาของหลายๆสิ่ง
ที่ผ่านมา
กระบวนการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐแม้จะมีอยู่แต่ก็ไม่สามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันซึ่งจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญประการหนึ่งคือ
ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
จึงได้วางกลไกในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐเสียใหม่เพื่อให้การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐมีประสิทธิภาพและครบถ้วนยิ่งขึ้น อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)